http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321 ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่าเน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สำคัญๆ มี 5 ทฤษฏี คือ
- ทฤษฎีเกสตัลท์
- ทฤษฎีสนาม
- ทฤษฎีเครื่องหมาย
- ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
- ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ของออซูเบล
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สำคัญๆ มี 5 ทฤษฏี คือ
- ทฤษฎีเกสตัลท์(GestaltTheory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
- ทฤษฎีสนาม(FieldTheory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทำให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
- ทฤษฎีเครื่องหมาย(SignTheory) ของทอลแมน(Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
- ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นักคิดคนสำคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ 2 ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุนเนอร์(Bruner) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่องพัฒนาการทางสติปัญญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง
- ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(ATheory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนำเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาสาระนั้นอย่างมีความหมาย
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552:21) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
1.ทฤษฎีเกสตัลท์ (GestaltTheory) มีแนวคิดหลักคือ "ส่วนรวมไม่ใช่เป็นเพียงผลรวมของส่วนย่อยส่วนรวมเป็นสิ่งที่มากกว่าผลรวมของส่วนย่อย"
- การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์
- บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
- การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือการรับรู้และการหยั่งเห็น
2.ทฤษฎีสนาม(FieldTheory)เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีสนาม ซึ่งมีทฤษฎีการเรียนรู้ดังนี้
- พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทางสิ่งใดที่อยู่ในความสนใจและความต้องการของตนเองจะมีพลังเป็นบวก และสิ่งใดที่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังงานเป็นลบโดยทุกคนมีโลกเป็นของตนเองซึ่งประกอบไปด้วยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
- การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทำไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
3.ทฤษฎีเครื่องหมาย(SignTheory)ทอลแมน(Tolman)เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีเครื่องหมายซึ่งเขากล่าวว่าการเรียนรู้เกิดจาการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
4.ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา(IntellectualDevelopment Theory)ทฤษฎีที่สำคัญที่นำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้คือพัฒนาการสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)และทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์(Bruner)เชื่อว่าพัฒนาการของบุคคลเป็นไปตามวัยและมนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจการเรียนรู้เกิดจากการค้นพบตัวเอง
5.ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning)
การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้เรียนรวมหรือเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ซึ่งอาจจะเป็นความคิดรวบยอดหรือความรู้ที่ได้รับใหม่ในโครงสร้างสติปัญญากับความรู้เดิมที่อยู่ในสมองของผู้เรียนอยู่แล้ว
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมเน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สำคัญๆ มี 5 ทฤษฏี คือ
URL: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321 เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
URL: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์.(2552).80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น กรุงเทพฯ.
ของออซูเบล
http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 ได้กล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า เน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่เกิดจากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สำคัญๆ มี 5 ทฤษฏี คือ
- ทฤษฎีเกสตัลท์(GestaltTheory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์ บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
- ทฤษฎีสนาม(FieldTheory) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทำให้ไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
- ทฤษฎีเครื่องหมาย(SignTheory) ของทอลแมน(Tolman) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้คือ การเรียนรู้เกิดจากการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
- ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา(Intellectual Development Theory) นักคิดคนสำคัญของทฤษฏีนี้มีอยู่ 2 ท่าน ได้แก่ เพียเจต์(Piaget) และบรุนเนอร์(Bruner) แนวความคิดเกี่ยวกับการเรียนรู้ของทฤษฏีนี้เน้นเรื่องพัฒนาการทางสติปัญญญาของบุคคลที่เป็นไปตามวัยและเชื่อว่ามนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจและการเรียนรู้เกิดจากระบวนการการค้นพบด้วยตนเอง
- ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย(ATheory of Meaningful Verbal Learning) ของออซูเบล(Ausubel) เชื่อว่า การเรียนรู้จะมีความหมายแก่ผู้เรียน หากการเรียนรู้นั้นสามารถเชื่อมโยงกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งที่รู้มาก่อน หลักการจัดการเรียนการสอนตามทฤษฏีนี้ คือ มีการนำเสนอความคิดรวบยอดหรือกรอบมโนทัศน์ หรือกรอบแนวคิดในเรื่องใดเรื่องหนึ่งแก่ผู้เรียนก่อนการสอนเนื้อหาสาระนั้นๆจะช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนเนื้อหาสาระนั้นอย่างมีความหมาย
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์ (2552:21) ได้รวบรวมและกล่าวถึงทฤษฎีนี้ว่า
1.ทฤษฎีเกสตัลท์ (GestaltTheory) มีแนวคิดหลักคือ "ส่วนรวมไม่ใช่เป็นเพียงผลรวมของส่วนย่อยส่วนรวมเป็นสิ่งที่มากกว่าผลรวมของส่วนย่อย"
- การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดซึ่งเป็นกระบวนการภายในตัวมนุษย์
- บุคคลจะเรียนรู้จากสิ่งเร้าที่เป็นส่วนรวมได้ดีกว่าส่วนย่อย
- การเรียนรู้เกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือการรับรู้และการหยั่งเห็น
2.ทฤษฎีสนาม(FieldTheory)เคิร์ท เลวิน (Kurt Lewin) เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีสนาม ซึ่งมีทฤษฎีการเรียนรู้ดังนี้
- พฤติกรรมของคนมีพลังและทิศทางสิ่งใดที่อยู่ในความสนใจและความต้องการของตนเองจะมีพลังเป็นบวก และสิ่งใดที่นอกเหนือความสนใจจะมีพลังงานเป็นลบโดยทุกคนมีโลกเป็นของตนเองซึ่งประกอบไปด้วยสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
- การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อบุคคลมีแรงจูงใจหรือแรงขับที่จะกระทำไปสู่จุดหมายปลายทางที่ตนต้องการ
3.ทฤษฎีเครื่องหมาย(SignTheory)ทอลแมน(Tolman)เป็นผู้ริเริ่มทฤษฎีเครื่องหมายซึ่งเขากล่าวว่าการเรียนรู้เกิดจาการใช้เครื่องหมายเป็นตัวชี้ทางให้แสดงพฤติกรรมไปสู่จุดหมายปลายทาง
4.ทฤษฎีพัฒนาการทางปัญญา(IntellectualDevelopment Theory)ทฤษฎีที่สำคัญที่นำมาใช้เป็นแนวทางในการจัดการเรียนรู้คือพัฒนาการสติปัญญาของเพียเจต์ (Piaget)และทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของบรูเนอร์(Bruner)เชื่อว่าพัฒนาการของบุคคลเป็นไปตามวัยและมนุษย์เลือกที่จะรับรู้สิ่งที่ตนเองสนใจการเรียนรู้เกิดจากการค้นพบตัวเอง
5.ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย (A Theory of Meaningful Verbal Learning)
การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนได้เรียนรวมหรือเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนรู้ใหม่ซึ่งอาจจะเป็นความคิดรวบยอดหรือความรู้ที่ได้รับใหม่ในโครงสร้างสติปัญญากับความรู้เดิมที่อยู่ในสมองของผู้เรียนอยู่แล้ว
สรุป
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมเน้นกระบวนการทางปัญญาหรือความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในของสมอง นักคิดกลุ่มนี้มีความเชื่อว่า การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมายและความสัมพันธ์ของข้อมูลและการดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทำและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ในการที่จะสร้างความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง ทฤษฏีในกลุ่มนี้ที่สำคัญๆ มี 5 ทฤษฏี คือ
- ทฤษฎีเกสตัลท์
- ทฤษฎีสนาม
- ทฤษฎีเครื่องหมาย
- ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญา
- ทฤษฏีการเรียนรู้อย่างมีความหมาย
ของออซูเบล
เอกสารอ้างอิงของออซูเบล
URL: http://www.oknation.net/blog/print.php?id=294321 เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
URL: http://www.learners.in.th/blog/natchakan/386486 เข้าถึงเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม 2554
ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์.(2552).80 นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ.แดเน็กซ์ อินเตอร์คอร์ปอเรชั่น กรุงเทพฯ.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น